ทางเข้า เว็บตรง

ยินดีต้อนรับ นักเดิมพันทั่วไทย

K-POP ครองโลก กลยุทธ์เพลงเกาหลีใต้ กับความปังไม่มีสิ้นสุด

K-POP

K-POP แนวเพลงสัญชาติเกาหลีใต้ ซึ่งมีการผสมผสานทั้งดนตรีฮิปฮอป, P&B, Repper และอื่นๆ เข้าด้วยกัน จนทำให้กลายมาเป็นเอกลักษณ์ อีกทั้งยังเรียกว่าเป็นอุตสาหกรรมสำคัญ ที่สร้างเม็ดเงินได้มากกว่า 1 หมื่นล้านดอลลาร์ต่อปี หรือคิดเป็นเงินไทยราว 3 ร้อยกว่าล้านบาท และทำให้คนรู้จักกับแดนกิมจิมากยิ่งขึ้น

จุดเริ่มต้นของ K-POP มาจากอะไร

จุดเริ่มต้นของแนวเพลง K-POP จากการอ้างอิง [1] พบว่ามีขึ้นในปี 1992 และประเดิมความนิยมด้วย Seo Taiji and the Boys ไอดอลที่ถูกเดบิวในต้นทศวรรษเดียวกัน เพลงจากอัลบั้มแรกอย่าง “I Know” ของพวกเขา อยู่ในกระแสเพลงนานอย่างต่อเนื่อง และนับจากนั้นมาวงการเคป็อป ก็เติบโตอย่างก้าวกระโดด

เส้นทางของ K-POP จากยุคแรกเริ่ม

K-POP

หลังจากยุคแรกเริ่มของเพลงเคป็อป มีการก่อตั้งบริษัทเพลงค่ายใหม่ขึ้นมา โดยเริ่มต้นจาก SM ในปี 1965 และต่อมาในปี 1966 ก็มีหนึ่งในเมมเบอร์ของวง Seo Taiji and Boys ยาง ฮยอน ซอก ได้ก่อตั้งบริษัทโดยใช้ชื่อว่า YG และถัดมาอีกหนึ่งปี 1997 พัคจินยองหรือลุงผัก ก็ได้เปิดบริษัท JYP เช่นเดียวกัน

ทำให้ในช่วงปลายทศวรรษของปี 2000 ช่วงที่อินเทอร์เน็ตกำลังเข้ามามีบทบาท เพลงเคป็อปยิ่งเป็นที่รู้จักอย่างรวดเร็ว และนอกจากความบันเทิงของ K-POP ยังมีทั้งรายการทีวี, ซีรีส์, หนัง ที่โด่งดังไปทั่วทุกพื้นที่ ซึ่งมีซีรีส์ในตำนานอย่าง Sassy Girl (นายตัวร้ายกับยัยเจี๋ยมเจี้ยม) และแดจังกึม สร้างกระแสฟีเวอร์ในตอนนั้น

นับตั้งแต่นั้นมาวงการบันเทิงเกาหลี ก็ประสบความสำเร็จมากขึ้นทุกปี โดยอย่างยิ่งในปี 2009 ที่ทางวงบอยแบนด์ Super Junior ปล่อยเพลงฮิตติดหูอย่าง Sorry Sorry และเมื่อปี 2012 ศิลปินชายเดี่ยวนามว่า PSY ก็ได้ปล่อยเพลง Gangnam Style ที่เรียกว่าเป็นอีกหนึ่งจุดสำคัญ ที่ทำให้ทั่วโลกรู้จักกับเกาหลีใต้

ที่มา : แกะรอยประวัติศาสตร์ K-Pop [1]

การมาถึงของ K-POP ในยุคปัจจุบัน

ในปัจจุบันโลกเปิดกว้างมากขึ้น จึงทำให้เคป็อบและความบันเทิงอื่นๆ กลายเป็นที่รู้จักในทุกกลุ่ม ไม่ใช่เพียงแค่แฟนคลับเหมือนแต่ก่อน โดยมีทั้งบริษัทผู้ผลิตสื่อ วงไอดอล และนักแสดง เปิดตัวเดบิวกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งมีการแบ่งแยกออกเป็นแต่ละยุค หรือที่เรียกกันว่า Gen1, Gen2, Gen3 ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่เดบิว ดังนี้

วงเคป็อบ Gen1

  • คือวงเคป็อบที่อยู่ในช่วงเวลาของการเดบิวยุค 90 ซึ่งความนิยมมีขอบเขตเพียงแค่ในประเทศ เช่น H.O.T, GOD, Sechs Kies, Shinhwa, S.E.S, Fin KL, Baby VOX เป็นต้น

วงเคป็อบ Gen2

  • คือวงไอดอลที่เดบิวตั้งแต่ปี 2000 ไปจนถึงต้นปี 2010 ซึ่งเป็นเส้นทางเริ่มต้น ที่ทำให้กระแสเพลง K-POP ดังไปทั่วโลก เช่น TVXQ, SJ, SHINee, 2PM, Big Bang, SNSD, 2NE1 เป็นต้น

วงเคป็อบ Gen3

  • เป็นช่วงเวลาที่เคป็อปกำลัง เจาะกลุ่มตลาดเพลงตะวันตก และยังเป็นยุคที่ YouTube มีส่วนสำคัญ สำหรับการผลักดันและจัดอันดับ เช่น BTS, Winner, GOT7, Twice, Blackpink เป็นต้น

วงเคป็อบ Gen4

  • เริ่มนับจากปี 2018 จนมาถึงปัจจุบัน โดยมีการคาบเกี่ยวของ Gen 3 มาด้วย กลุ่มไอดอลจากเจนนี้ ล้วนแต่ยังมีอายุน้อยมากๆ เช่น ITZY, (G)I-DLE, TXT, Stray Kids เป็นต้น

ที่มา : KPOP 4 Gen ยุคสมัยของวัยรุ่น [2]

เจาะลึก อนาคตของ K-POP กับผู้อยู่เบื้องหลัง

K-POP

อ้างอิงจากการสัมภาษของ 3 ศิลปิน ได้แก่ Hae คนสำคัญในการก่อตั้ง Sound Jungles, Sonny นักแต่งเพลง และ Bongwon ผู้อยู่ในวงการเพลงเกาหลีมากกว่า 15 ปี โดยมีหัวข้อของการสนทนานี้ว่า คิดอย่างไรกับการก้าวไปข้างหน้าของ K-POP ซึ่งทั้งสามคนให้คำตอบที่ค่อนข้างชัดเจน ดังต่อไปนี้

Hae : เขาบอกว่าเทรนด์เปลี่ยนไปทุกวัน แต่ส่วนตัวคิดว่าอนาคตของเคป็อป จะยังผลิตเนื้อหาที่ตอบโจทย์มากขึ้น อาทิเช่น ผู้หญิงชอบเพลงแนวคลาสสิก แต่ผู้ชายชอบเพลงแนวแจ๊ส ทั้งสองแบบอาจรวมอยู่ในเพลงเดียวกันก็ได้

Sonny : หากลองเทียบเคป็อปกับสื่ออื่นๆ ทั้งซีรีส์และภาพยนตร์ เห็นได้ชัดว่าดนตรีมีข้อจำกัด แต่เขาคิดว่า Content ของเพลงที่มีสไตล์หลากหลาย จะทำให้ผู้คนเสพความบันเทิงได้มากกว่าเดิม

Bongwon : สำหรับคนสุดท้าย เขาคิดว่าวงไอดอลผู้หญิงนั้น ในอนาคตจะต้องเน้นทำเพลงที่ฟังง่าย ส่วนวงไอดอลชาย น่าจะต้องมาในแนวหนักๆ ทั้งดนตรี ท่าเต้น และการแสดงที่มาพร้อมกับเสน่ห์

ที่มา : คุณคิดว่าก้าวต่อไปของวงการ K-Pop จะเป็นอย่างไร [3]

สรุป K-POP วัฒนธรรมเขย่าโลก จากแดนกิมจิ

K-POP เห็นได้ชัดว่าภายหลังของกระแส ความนิยมจากบอยกรุ๊ปวงแรก ส่งผลให้ในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน วงการเพลงเกาหลีมีการพัฒนา และวิวัฒนาการอย่างเห็นได้ชัด ทั้งรัฐบาล ผู้คน และผู้มีอิทธิพล ต่างหันมาให้ความสำคัญ และเร่งผลักดันเพลงเกาหลีสู่นานาชาติ จนกลายมาเป็นแนวเพลงแถวหน้าระดับโลก

อ้างอิง

[1] ประชาชาติธุรกิจ. (July 7, 2020). แกะรอยประวัติศาสตร์ K-Pop. Retrieved from prachachat

[2] กรุงเทพธุรกิจ. (December 5, 2021). KPOP 4 Gen ยุคสมัยของวัยรุ่น. Retrieved from bangkokbiznews

[3] The people. (September 22, 2023). คุณคิดว่าก้าวต่อไปของวงการ K-Pop จะเป็นอย่างไร. Retrieved from thepeople