ทางเข้า เว็บตรง

ยินดีต้อนรับ นักเดิมพันทั่วไทย

ที่มา ธรณีพิบัติภัย ปรากฏการณ์ ภัยทางธรรมชาติ

ธรณีพิบัติภัย

ธรณีพิบัติภัย เมื่อเกิดขึ้นนั้นจะ ส่งผลแก่พื้นผิวโลก และอื่นๆ ซึ่งจะนำมาสู่ผลกระทบแบบวงกว้าง โดยผู้รับผลกระทบก็คงหนีไม่พ้น เหล่ามนุษย์, บ้านเรือน และทรัพย์สินของเหล่ามนุษย์มากมาย แถมทางเรายังเห็นถึงการเสื่อมสภาพของสภาพแวดล้อม

ธรณีพิบัติภัย สภาพแวดล้อมที่ไม่สมดุล คืออะไร

เนื่องจาก ธรณีพิบัติภัย นั้นจะมาจาก ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ที่มีความแปรปรวนโดยทางธรณีวิทยา ถือว่าภัยชนิดนี้นั้นถือว่าเป็นภัยพิบัติขั้นรุนแรงอย่างมาก โดยภัยที่เกิดขึ้นบ่อยก็คงหนีไม่พ้น ภัยแผ่นดินไหวที่ก่อให้เกิดการสั่นสะเทือนของพื้นดิน และภัยอื่นๆก็จะตามมาหลังจากนั้น

ธรณีพิบัติภัยที่ส่งผลกระทบ ต่อบนโลกมนุษย์ มีกี่ประเภท

โดยภัยพิบัติที่มาจากธรณีพิบัติภัย นั้นจะมีผลกระทบ ทางสภาพแวดล้อม และทางทรัพยากรทางธรรมชาติ โดยจะถูกแบ่งเป็น 6 ประเภท ตามดังนี้

  1. ตลิ่งทรุดตัว เป็นการเปลี่ยนแปลงในน้ำ หรือ แม่น้ำ เพราะฉะนั้นจะทำให้เกิดความแตกต่างของระดับดินใต้น้ำ
  2. รอยแยกแผ่นดิน เป็นการเกิดรอยแยกในบริเวณบนที่ลาดภูเขา หรือลาดชันสูง โดยจะเกิดเมื่อฝนตกหนัก จึงทำให้มีการเคลื่อนตัว
  3. การยุบตัวของพื้นดิน ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ ที่เกิดการยุบตัวของเส้นผ่านศูนย์กลางที่มีปริมาณตั้งแต่ 1-200 ที่มีความลึกมากถึง 1-20 เมตร หรืออาจจะมีมากกว่านั้น
  4. ดินภูเขาถล่ม เป็นแรงโน้มถ่วงของมวลดิน และหินในภูมิศาสตร์ที่มีความลาดชันสูง เช่น แนวเขา หรือ หน้าผา โดยส่วนมากนั้นจะเกิดขึ้นบนภูเขาที่มีความสูง
  5. คลื่นยักษ์สึนามิ เป็นการระเบิดของภูเขาไฟใต้มหาสมุทรมากกว่า 7.0 แมกนิจูด แถมยังมีระยะความเสียหายที่มากถึง 50 กิโลเมตร
  6. แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์ ที่มีการสั่นสะเทือนแถมยังเกิดขึ้นบ่อยอีกด้วยในประเทศไทย โดยเป็นการทำให้ชั้นพื้นผิวดินนั้นมีการเคลื่อนไหวขนาดใหญ่ หรือ อาจจะถึงขั้นแตกหักของพื้นผิวเลยทีเดียว

ที่มา: ธรณีพิบัติภัย [1]

บริเวณใดในประเทศไทย ที่เสี่ยงต่อแผ่นดินไหวสูง

โดยบริเวณที่เกิด ภัยพิบัติธรณี ที่เป็นประเภทแผ่นดินไหว นั้นส่วนมากจะเกิดขึ้นในตามแนวรอยเลื่อนทั้ง ภายใน และ นอกประเทศ ซึ่งในประเทศไทยนั้นภัยพิบัติชนิดนี้จะเกิดขึ้นที่ ภาคเหนือ, ภาคตะวันตก ใน 2 ภาคนี้ที่อยู่ในประเทศไทยถือว่าเกิดแผ่นดินไหวบ่อยอย่างมาก

โดยทางประวัติศาสตร์นั้น จะมีการเกิดภัยพิบัติชนิดนี้ ในจังหวัดเชียงใหม่, เชียงราย แถมยังมีการเกิดแผ่นดินไหวที่ทางประเทศไทยได้รับผลกระทบจากประเทศเพื่อนบ้าน อย่างประเทศพม่าโดยจะส่งผลกระทบมาให้กับจังหวัดแถบภาคเหนือทั้งหมด

สถานีตรวจแผ่นดินไหว ในประเทศไทย อยู่ที่ไหนบ้าง

ธรณีพิบัติภัย

จากการตรวจสอบของ สถานีตรวจแผ่นดินไหว ในประเทศไทยนั้นจะมีอยู่ 2 ระบบที่ค่อยไว้ตรวจสอบแผ่นดินไหว ได้แก่ระบบ Analog และ Digital โดยจังหวัดที่รับผิดชอบนั้น จะมีตามดังนี้

  • ระบบ Digital ถูกรับผิดชอบภายใต้ 12 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน, จังหวัดแพร่, จังหวัดเลย, จังหวัดขอนแก่น, จังหวัดนครราชสีมา, จังหวัดกาญจนบุรี, จังหวัดเชียงใหม่, จังหวัดเชียงราย, จังหวัดประจวบคีรีขันธ์, จังหวัดตาก, จังหวัดสงขลา และจังหวัดสุราษฎร์ธานี
  • ด้วยระบบ Analog ที่รับผิดชอบภายใต้ 13 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเขื่อนเขาแหลม, จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดเลย, จังหวัดอุบลราชธานี, จังหวัดขอนแก่น, จังหวัดเชียงราย, จังหวัดน่าน, จังหวัดตาก, จังหวัดนครสวรรค์, จังหวัดประจวบคีรีขันธ์, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดสงขลา

ที่มา: แผ่นดินไหว [2]

สถานีตรวจแผ่นดินไหว บริเวณที่ราบสูง อยู่ที่ไหน

โดยสถานีตรวจแผ่นดินไหว ในพื้นที่ที่ราบสูงของภาคเหนือนั้น จะมีหลายแหล่ง ซึ่งทางเราก็ได้ยกมาหนึ่งสถานีในบริเวณภาคเหนือ ซึ่งจะจัดตั้งอยู่ที่ จังหวัดเชียงใหม่ อำเภอเชียงดาว ตำบลเมืองคอง ซึ่งเป็นศูนย์ที่จะเฝ้าระวังเรื่องแผ่นดินไหว โดยสามารถคลิกเพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว

การเตรียมรับมือ ให้พร้อมกับภัยพิบัติ ทำอย่างไรบ้าง

เนื่องจากการรับมือเตรียมพร้อมก่อนที่ภัยจะมานั้น ควรเตรียมหาวิธีแจ้งเหตุ และ เส้นทางอพยพ พร้อมการกำหนดจุดปลอดภัยไว้ ขณะนั้นก็เริ่มให้เตรียมร่างกาย และที่อยู่อาศัยรวมถึงต้องซักซ้อมในการอพยพไว้บ่อยครั้ง [3]

สรุป ธรณีพิบัติภัย ภัยทางธรรมชาติ อากาศที่แปรปรวน

สรุป ธรณีพิบัติภัย นั้นเป็นภัยพิบัติที่เกิดขึ้นและมีความเสียหายเป็นวงกว้าง โดยภัยชนิดนี้นั้นจะถูกเป็นประเภทของภัยพิบัติที่มีมากถึง 6 ประเภท แถมยังมีบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดพิบัติภัยทางธรณี โดยทางเรายังได้แนะนำสถานีตรวจแผ่นดินไหวต่างๆ พร้อมกับแนะนำการรับมือ

อ้างอิง

[1] Wikipedia. (July 11, 2023). ธรณีพิบัติภัย. Retrieved from Wikipedia

[2] tmd-dev. (September 14, 2022). แผ่นดินไหว. Retrieved from tmd-dev

[3] seub. (August 2, 2018). เรื่องควรรู้ในการใช้ชีวิตเมื่อเกิดภัยพิบัติ. Retrieved from seub