ทางเข้า เว็บตรง

ยินดีต้อนรับ นักเดิมพันทั่วไทย

ที่มา หน่วยงานป้องกันอุทกภัย ภัยธรรมชาติ ผลกระทบต่อบ้านเรือน

หน่วยงานป้องกันอุทกภัย

เนื่องจาก หน่วยงานป้องกันอุทกภัย นั้นจะช่วยเหลือบรรเทาผู้ที่ประสบกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยเพราะฉะนั้น ทางหน่วยงานนี้ก่อตั้งขึ้นนั้น จะมีปัจจัยหลักในเรื่องส่งเสริมช่วยเหลือเหล่าผู้คนที่เจอกับภัยธรรมชาติอย่างรุนแรง

การรับมือ อุทกภัยที่เกิด จากภัยน้ำท่วม

โดยเมื่อเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติจากน้ำท่วมนั้น ซึ่งทางเราก็จะบอกเกี่ยวกับ ข้อแนะนำที่ควรปฏิบัติเมื่อเกิดน้ำท่วมขึ้น ซึ่งจะมีข้อปฏิบัติตามดังนี้

  1. เมื่อเกิดน้ำท่วมนั้น ให้รีบแจ้ง ผู้ใหญ่บ้าน, กำนัน, อบต. หรือแจ้งได้ที่เบอร์ 1784
  2. เมื่อน้ำเริ่มท่วมสูงขึ้น ควรระมัดระวังเกี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่มีวัสดุฉนวนนำไฟฟ้าต่างๆ รวมถึงควรปิดแก๊ส และ ดึงปลั๊กออก
  3. ต่อมาให้เริ่มนำรถยนต์ และ พาหนะอื่นๆ ไว้บนที่สูงกว่าระดับน้ำ

แนะนำ 5 หน่วยงานป้องกันอุทกภัย และบรรเทาสาธารณภัย

ซึ่งหน่วยงานที่จะช่วยบรรเทาส่งเสริมช่วยเหลือเหล่าผู้คนที่ประสบภัยธรรมชาตินั้น โดยหน่วยงานเหล่านี้ จะถูกส่งภารกิจมาให้ 5 หน่วยงานตามดังนี้

  • กรมการพัฒนาชุมชน งานบริการด้านช่างพื้นฐาน
  • กรมประชาสงเคราะห์กองสงเคราะห์ผู้ประสบภัย
  • สำนักงานปลัด สำนักนายกรัฐมนตรีคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ
  • กรมการปกครองกองป้องกัน ภัยฝ่ายพลเรือน
  • กรมเร่งรัดพัฒนาชนบท

ที่มา: กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย [1]

แนะนำเบอร์ฉุกเฉิน หน่วยงานป้องกันอุทกภัย

หน่วยงานป้องกันอุทกภัย

เนื่องจากเหล่า หน่วยงานป้องกันอุทกภัย ที่จะช่วยเหลือผู้คนประสบภัยนั้น จะมีหลายหน่วยงานมาก แต่เมื่อเกิดภัยธรรมชาติขึ้นจริง เหล่าผู้คนส่วนมากก็จะลืมเบอร์ติดต่อ หรือ ถึงขั้นที่จำเบอร์ติดต่อหน่วยงานนั้นๆไม่ได้อีกด้วย โดยจะมีเบอร์ติดต่อหน่วยงานต่างๆ ตามดังนี้

  1. ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ศปภ. ติดต่อได้ที่เบอร์โทร 1111 หลังจากนั้นกดที่เลข 5
  2. กรมทางหลวงชนบท ศูนย์ความปลอดภัย สามารถจะสอบถามเรื่องน้ำท่วมไหลผ่านได้ ที่เบอร์โทร 1146
  3. แจ้งเตือนสาธารณภัย ปภ. ได้ที่เบอร์โทร 1784
  4. เครือข่ายวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน อาสาสมัคร สามารถโทรได้ที่เบอร์ 1677
  5. สอบถามข้อมูลน้ำในเขื่อนได้ที่เบอร์ 1460 กรมชลประทาน
  6. แพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติโทรได้ที่เบอร์ 1669

ที่มา: รับมือน้ำท่วมที่บ้านอย่างปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิดล [2]

การประเมินความเสี่ยง ระดับครัวเรือน เป็นอย่างไร

การประเมินความเสี่ยงภัยจากสาธารณภัย โดยจะมีความคล้ายคลึงกับการประเมินความเสี่ยงในครัวเรือน ซึ่งอย่างแรกจะต้องระบุภัยและสถานที่เกิดขึ้น ต่อมาให้พิจารณาความเสี่ยงภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น และรีบอพยพผู้คนบริเวณนั้นออกไปอยู่ในจุดปลอดภัยให้รวดเร็วที่สุด

พื้นที่เสี่ยง จังหวัดที่เกิดอุทกภัย บ่อยที่สุด

โดยพื้นที่ที่จะเสี่ยงภัยธรรมชาติบ่อยครั้งนั้น จะเกิดขึ้นบ่อยในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา, กรุงเทพ, อ่างทอง, นนทบุรี, ปทุมธานี, พิจิตร และ เมืองพัทยา ซึ่งเคยมีภัยทางน้ำ ที่เกิดขึ้นบ่อยที่สุด โดยจะมีน้ำท่วมในปริมาณเริ่มต้นตั้งแต่ 1,047.27-1,546.56 มิลลิเมตร [3]

พิกัดสถานที่หน่วยงาน ป้องกันอุทกภัย อยู่ที่ไหน

พิกัดหน่วยงาน ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ โดยส่งตรงจากกรมป้องกันบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย จะจัดตั้งอยู่ที่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตดุสิต แขวงดุสิต ถนนอู่ทองนอก เลขที่ 3/12 ซึ่งสามารถคลิกเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ

สรุป หน่วยงานป้องกันอุทกภัย ภัยธรรมชาติสิ่งแวดล้อม

สรุป หน่วยงานป้องกันอุทกภัย จะคอยช่วยเหลือคนที่ประสบกับภัยธรรมชาติ แถมทางเรายังได้แนะนำเบอร์โทรเพื่อให้เหล่าผู้คนที่ประสบปัญหาธรรมชาตินั้น ให้มีหน่วยงานเข้าไปช่วยเหลือได้ โดยทางเราก็ได้แนะนำพิกัดหน่วยงานที่พร้อมช่วยเหลือผู้ประสบภัยไปอีกด้วย

อ้างอิง

[1] Wikipedia. (March 21, 2024). กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. Retrieved from Wikipedia

[2] si.mahidol. (August 10, 2023). รับมือน้ำท่วมที่บ้านอย่างปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิดล. Retrieved from si.mahidol

[3] dotproperty. (July 31, 2019). 10 จังหวัดพื้นที่เสี่ยงน้ำท่วมขังซ้ำซาก. Retrieved from dotproperty