ทางเข้า เว็บตรง

ยินดีต้อนรับ นักเดิมพันทั่วไทย

คาดการณ์ ขยะอวกาศ มลภาวะสร้างปัญหายิ่งกว่าพลาสติก

ขยะอวกาศ

ขยะอวกาศ มลภาวะที่ก่อตัวขึ้น หลังจากการสำรวจ นอกโลกของมนุษย์ เริ่มต้นตั้งแต่ทศวรรษที่ 1950 ส่งผลให้มีขยะในอวกาศมากมาย ยิ่งมีการทำโครงการ เกี่ยวกับอวกาศมากเท่าไหร่ ก็ทำให้มีเศษขยะ ลอยเคว้งอยู่ในวงโคจร ของโลกนับไม่ถ้วน เสมือนว่าเป็นระเบิดเวลา ที่รอย้อนคืนมาทำลาย มนุษย์อย่างเรา

ข้อมูลการสำรวจ ขยะอวกาศ ผลกระทบต่อคนและโลก

การสำรวจอวกาศ ของมนุษย์ในปัจจุบัน เรียกว่ามีความก้าวหน้า และ พัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งการส่งดาวเทียม ส่งยานอวกาศ จากหลายประเทศทั่วโลก สำหรับเป็นประโยชน์ ด้านทรัพยากร การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การติดต่อสื่อสาร รวมถึงความมั่นคงของชาติด้วย

แน่นอนว่า เทคโนโลยีเจริญขึ้น ก็จะมีปัญหาตามมาเช่นกัน คือ ขยะอวกาศ ซึ่งหากปล่อยไว้นาน ในวงโคจรรอบโลก ก็จะมีโอกาสสูง ที่เศษวัตถุจะชนกันเอง หรือ ชนกับดาวเทียม โดยนักวิทยาศาสตร์คาดว่า มีขยะภายในอวกาศ ที่ไม่สามารถพบเจอได้ อีกกว่า 100 ล้านล้านชิ้น แถมยังมีแนวโน้ม จำนวนเพิ่มขึ้นอีกด้วย

ขยะอวกาศ คืออะไรทำไมถึงสร้างปัญหา?

ขยะอวกาศ (Space Junk) [1] คือ วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่หมดอายุ หรือ เสื่อมสภาพไปตามกาลเวลา แล้วถูกทิ้งให้ล่องลอย อยู่ในอวกาศ มีทั้งวัตถุขนาดเล็ก ถึงขนาดใหญ่ อย่างกล้องถ่ายรูป อุปกรณ์ซ่อม วัตถุสลัดทิ้งระหว่างเดินทาง ชิ้นส่วนเครื่องจักร ท่อนจรวด ฝาครอบดาวเทียม และ ดาวเทียมเสียหาย เป็นต้น

เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว ไปตามแรงเหวี่ยง 8 – 1 กิโลเมตร / ชั่วโมง โดยนักวิทยาศาสตร์เผยว่า ขยะอวกาศ ที่ไร้การควบคุมปริมาณ จะทำให้มีจำนวนมากขึ้น ผลสำรวจพบว่า มีขยะขนาดใหญ่กว่า 30,000 ชิ้น และ ขยะขนาดเล็กมากกว่า 128 ล้านชิ้น พร้อมสร้างอันตราย ให้กับดาวเทียมดวงอื่น

เป็นปัญหาที่แก้ยาก ยิ่งกว่าขยะพลาสติกเสียอีก ถึงแม้ว่าจะไม่เกิดผลกระทบ กับมนุษย์โดยตรง แต่ขยะที่ลอยไปรอบโลก จะเกิดการเผาไหม้ ทำลายตัวเองจนหมด ซึ่งการเผาไหม้นี่แหละ คือการปล่อยสารเคมี สู่ชั้นบรรยากาศโลก ทำให้อากาศบนโลกอ่อนแอ รวมถึงมีสารก่อมะเร็ง เพิ่มก๊าซเรือนกระจก ต่อโลกได้ง่ายขึ้น

ขยะอวกาศ มีอะไรบ้าง พร้อมวิธีการกำจัด

ขยะอวกาศ

พามาสำรวจ ขยะอวกาศ ที่ถูกบันทึกเฝ้าติดตาม มานานหลายปี โดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ซึ่งเผยว่าเป็นวัตถุอันตราย ล้วนเป็นขยะไม่มีประโยชน์ ซึ่งในอนาคต สามารถตกลงมายังพื้นโลก เกิดความเสียหายได้ จะมีขยะจากอะไรบ้าง มาดูกันเลย

  • ดาวเทียมสอดแนม และจรวด : หลังจากไม่มีการใช้งาน ของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ปี 1991 จึงไม่มีการปรับทิศวงโคจรให้ถูกต้อง ทำให้ดาวเทียม กับเศษจรวดรุ่น SL-16 กลายเป็น ขยะอวกาศ ถูกทิ้งล่องลอยเป็นเวลานาน
  • ขีปนาวุธทำลายดาวเทียม : จากกองทัพจีน มีน้ำหนักกว่า 750 กิโลกรัม ทำให้เกิดเศษขยะ จำนวนมากถึง 3,500 ชิ้น เดินทางด้วยความเร็ว 29,000 กิโลเมตร / ชั่วโมง
  • ดาวเทียมสำรวจทรัพยากร : ของทางยุโรป เกิดความผิดพลาด ไม่สามารถควบคุม หรือ ติดต่อสื่อสารได้ ด้วยน้ำหนักกว่า 8.8 ตัน จึงกลายเป็น ขยะอวกาศ ที่มีขนาดมหึมาที่สุด
  • กล้องโทรทรรศน์อวกาศ Hubble : เป็นกล้องที่ขาดการบำรุงรักษา จากกระสวยอวกาศ ตั้งแต่ปี 2009 ทำให้มีโอกาสสูง ที่จะตกลงมาสู่ดาวเทียม ด้วยน้ำหนักที่มากถึง 12.2 ตัน อาจเกินความสามารถ ที่ชั้นบรรยากาศ จะเผาไหม้ให้หมด จนตกลงมายังโลก ในเขตอาศัยของมนุษย์ได้

สำหรับวิธีการกำจัด ขยะอวกาศ มีทั้งการเปลี่ยนทิศทางวัตถุ การใช้แม่เหล็กดูด การใช้อุปกรณ์คล้ายอวน กวาดขยะรวมกัน หรือ การใช้เลเซอร์ขจัดทิ้งทันที ซึ่งตอนนี้ยังไม่สามารถทำได้ เพราะอยู่ในช่วง การศึกษาวิจัย คาดการณ์ว่าอนาคต สามารถพัฒนา จนสำเร็จได้จริง

สรุป ขยะอวกาศ อันตรายจากฝีมือมนุษย์

ขยะอวกาศ สิ่งที่โลกของเรา กำลังเผชิญหน้า ล้วนมาจากฝีมือมนุษย์ทั้งสิ้น ไม่น่าแปลกใจเลย ที่สักวันหนึ่ง ขยะเหล่านั้นจะย้อนกลับมาหาเรา ซึ่งการศึกษาวิจัย ค้นพบขยะนอกโลก จึงเป็นสัญญาณเตือนที่ดี ให้มนุษย์ตระหนักว่า จะไม่เพิ่มจำนวน ให้มากขึ้นอีกในอนาคต

อ้างอิง

[1] Wikipedia. (August 14, 2021). ขยะอวกาศ. Retrieved from Wikipedia